วันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2557

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ( คำนมัสการคุณานุคุณ )

     คำนมัสการคุณานุคุณ  เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ อ่านต่อ



หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ ( อิเหนา ตอนศึกมึงกุหนิง )

    อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครรำ เพราะเป้นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความและกระบวนการ และยังเป้นหนังสือที่ดีในทางที่จะศึกษาประเพณีสมัยโบราณ แม้จะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาวชวา อ่านต่อ










หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ( นิทานเวตาลตอนที่ ๑๐ )

ความเป็นมา 
     นิทานเวตาลฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย โดยมีชื่อเดิมว่า "ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ" อ่านต่อ




หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ ( มหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก )

ความเป็นมา

     พุทธศาสนิกชนชาวไทยนับถือกันมาแต่ครั้งโบราณว่า มหาเวศสันดรเป็นชาดกที่สำคัญกว่าชาดกเรื่องอื่น เพราะว่าด้วยเรื่องราวที่ปรากฏบารมีของพระโพธิสัตว์อยู่โดยบนิบูรณ์ทั้ง ๑๐ บารมี  อ่านต่อ

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ ( มงคลสูตรคำฉันท์ )

ความเป็นมา

     เมื่อ พ.ศ. 2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่6 ทรงนำมงคลสูตรมาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองประเกทคำฉันท์ โดยใช้คำประพันธ์ 2 ชนิด คือกาพย์ฉบัง 16 และอินทรวิเชียรฉันท์ 11   อ่านต่อ

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ ( ทุกข์ของชาวนาในบทกวี )

ความเป็นมา

     บทความเรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี มีที่มาจากหนังสือรวบรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง มณีพลอยร้อยแสง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯให้จัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2533 ในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ  อ่านต่อ

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ หัวใจชายหนุ่ม )      

ความเป็นมา

     หัวใจชายหนุ่ม เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า “รามจิตติ” เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ “ ดุสิตสมิต” เมื่อ พ.ศ.๒๔๖๔ ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็นรูปแบบของจดหมาย มีจำนวน ๑๘ ฉบับ   อ่านต่อ